วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558

นาย อธิกิจ เจษฏาญานเมธา ท่านที่ปรึกษาระดับสูง ด้านกฏหมายและทนายความ D-HOUSE

www.d-housegroup.com

















กฏหมายสิ่งแวดล้อม




                  กฏหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฏหมายที่มีคุณลักษณะพิเศษกล่าวคือจะความเกี่ยวพันกับ ศาสตร์ในสาขาอื่นๆอย่างใกล้ชิด ซึ่งได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ ฯลฯ กฏหมายสิ่งแวดล้อมจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทุกชนิดครอบ คลุมทั้งสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น จุดมุ่งหมายที่สำคัญของสิ่งแวดล้อมของไทยคือ เพื่อคุ้มครองและสงวนรักษาไว้ซึ่งระบบนิเวศของธรรมชาติรวทั้งพลเมืองของชาติ จากกิจกรรมใดๆที่อาจมีผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
   พระ ราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถือได้ว่าเป็นกฏหมายแม่บทที่ใช้ในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันกล่าวคือ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและบำรุงรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างรอบด้าน ครอบคลุมถึงการจัดการปัญหามลพิษทุกรูปแบบะสอดประสานกันอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฉบับบนี้ยังได้มีการนำหลักการใหม่ๆมาใช้ในการจัดการสิ่งแวด ล้อม อาทิเช่น หลักผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย การยอมรับบทบาทของประชาชนและองค์การพัฒนาเอกชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฯลฯ รวมทั้งหลักการที่สำคัญอีกหลายประการดังที่ปรากฏในหมายเหตุท้ายพระราช บัญญัติดังกล่าว ดังนี้
      ๑) ส่งเสริมประชาชนและองค์กรเอกชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      ๒) จัดระบบการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นไตามหลักการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      ๓) กำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและราชการส่วนท้องถิ่นให้เกิดการประสานงาน และมีหน้าที่ร่วมกันในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและกำหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนที่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง
      ๔) กำหนดมาตรการควบคุมมลพิษด้วยการจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย และเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับมลพิษ
      ๕) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดมลพิษให้เป็นไปโดยชัดเจน
      ๖) กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมด้านกองทุนและความช่วยเหลือด้านต่างๆ เพื่อเป็นการจูงใจให้มีการยอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

ความรับผิดในคดีสิ่งแวดล้อม

ความรับผิดทางแพ่ง
    ใน การเรียกร้องค่าเสียหายทางแพ่งโดยทั่วไปนั้น ผู้เสียหายจะต้องพิสูจน์ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำกับความเสีย หายที่ได้รับว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหรือไม่อน่างไรซึ่งเป็นแนวคิด จากทฤษฎีที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ทฤษฎีนี้ได้ใช้พิสูจน์ความรับผิดทางละเมิดโดยพิจารณาถึงเงื่อนไขและความ เหมาะสมชองเหตุและผลของการกระทำนั้นเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้เสียหายที่จะต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าข้อกล่าวอ้างของตน เป็นความจริงและความเสียหายที่ได้รับเป็นผลโดยตรงจากการกระทำโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเล่อของจำเลยในคดีนั้น ซึ่งในคดีสิ่งแวดล้อมการที่จะพิสูจน์ให้ได้ครบองค์ประกอบเช่นนั้นถือเป็น ภาระและความยากลำบากอย่างยิ่ง

ความรับผิดทางอาญา
มาตรา การลงโทษทางอาญาแก่ผู้กระทำผิดในคดีสิ่งแวดล้อมนั้นจะมีวัตถุประสงค์ที่แตก ต่างออกไปตามลักษณะของโทษ กล่าวคือ โทษประหารชีวิตและจำคุกมีวัตถุประสงค์ที่จะตัดโอกาสผู้กระทำความผิดออกไปจาก สังคมมิให้มีโอกาสได้กระทำผิดเช่นนั้นอีก รวมทั้งเพื่อป้องปราบและยับยั้งบุคคลอื่นมิให้กล้าที่จะกระทำความผิดเช่น เดียวกันนั้น ส่วนการริบทรัพย์สินนั้นจะมีวัตถุประสงค์เป็นการป้องกันและตัดโอกาสผู้กระทำ ผิดที่จะใช้อุปกรณ์และเครื่องมือเหล่านั้นในการกระทำความผิด กล่าวโดยรวมแล้วจะเห็นได้ว่าวัตถุประสงค์ของการลงโทษผู้กระทำความผิดในคดี สิ่งแวดล้อมนั้นจะมีลักษณะเป็นการป้องกันโดยการยับยั้งผู้กระทำความผิดให้ เกิดความเกรงกลัวและตัดโอกาสมิให้ได้รับความสะดวกที่จะกระทำความผิด เนื่องจากสิ่งแวดล้อมหากถูกทำลายไปแล้วไม่อาจฟื้นฟูให้กลับคืนสู่สภาพที่ดี ดังเดิมได้ ดังนั้นดารป้องกันปัญหาจึงเป็นมาตรการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ความรับผิดทางปกครอง
มาตรการ ทางปกครอง ได้แก่ ระบบทะเบียนและระบบการอนุญาตดำเนินการต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาของสิ่ง แวดล้อมและอุตสาหกรรม มาตรการทางปกครองเพื่อการคุ้มครองความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ได้มี การดำเนินการภายใต้การควบคุมขององค์กรเฉพาะที่มีอำนาจในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และในระดับชาติ โดยทีการจัดองค์กรและรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกันๆไป โดยที่ในบางประเทศจะดำเนินการโดยองค์กรเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อมจากส่วนกลางควบ คุมทุกภาคส่วนของสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมทางอุตสาหกรรมในท้องถิ่น 

_____________________________________________________________________________________________

อ้างอิง
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. กฎหมายว่าด้วยความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.



ท่านที่ปรึกษาระดับสูง ด้านกฏหมายและทนายความ D-HOUSE GROUP นาย อธิกิจ เจษฏาญานเมธา

ท่านที่ปรึกษาระดับสูง ด้านกฏหมายและทนายความ D-HOUSE GROUP นาย อธิกิจ เจษฏาญานเมธา www.d-housegroup.com
















กฏหมายสิ่งแวดล้อม




                  กฏหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฏหมายที่มีคุณลักษณะพิเศษกล่าวคือจะความเกี่ยวพันกับ ศาสตร์ในสาขาอื่นๆอย่างใกล้ชิด ซึ่งได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ ฯลฯ กฏหมายสิ่งแวดล้อมจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทุกชนิดครอบ คลุมทั้งสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น จุดมุ่งหมายที่สำคัญของสิ่งแวดล้อมของไทยคือ เพื่อคุ้มครองและสงวนรักษาไว้ซึ่งระบบนิเวศของธรรมชาติรวทั้งพลเมืองของชาติ จากกิจกรรมใดๆที่อาจมีผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
   พระ ราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถือได้ว่าเป็นกฏหมายแม่บทที่ใช้ในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันกล่าวคือ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและบำรุงรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างรอบด้าน ครอบคลุมถึงการจัดการปัญหามลพิษทุกรูปแบบะสอดประสานกันอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฉบับบนี้ยังได้มีการนำหลักการใหม่ๆมาใช้ในการจัดการสิ่งแวด ล้อม อาทิเช่น หลักผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย การยอมรับบทบาทของประชาชนและองค์การพัฒนาเอกชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฯลฯ รวมทั้งหลักการที่สำคัญอีกหลายประการดังที่ปรากฏในหมายเหตุท้ายพระราช บัญญัติดังกล่าว ดังนี้
      ๑) ส่งเสริมประชาชนและองค์กรเอกชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      ๒) จัดระบบการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นไตามหลักการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      ๓) กำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและราชการส่วนท้องถิ่นให้เกิดการประสานงาน และมีหน้าที่ร่วมกันในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและกำหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนที่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง
      ๔) กำหนดมาตรการควบคุมมลพิษด้วยการจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย และเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับมลพิษ
      ๕) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดมลพิษให้เป็นไปโดยชัดเจน
      ๖) กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมด้านกองทุนและความช่วยเหลือด้านต่างๆ เพื่อเป็นการจูงใจให้มีการยอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

ความรับผิดในคดีสิ่งแวดล้อม

ความรับผิดทางแพ่ง
    ใน การเรียกร้องค่าเสียหายทางแพ่งโดยทั่วไปนั้น ผู้เสียหายจะต้องพิสูจน์ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำกับความเสีย หายที่ได้รับว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหรือไม่อน่างไรซึ่งเป็นแนวคิด จากทฤษฎีที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ทฤษฎีนี้ได้ใช้พิสูจน์ความรับผิดทางละเมิดโดยพิจารณาถึงเงื่อนไขและความ เหมาะสมชองเหตุและผลของการกระทำนั้นเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้เสียหายที่จะต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าข้อกล่าวอ้างของตน เป็นความจริงและความเสียหายที่ได้รับเป็นผลโดยตรงจากการกระทำโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเล่อของจำเลยในคดีนั้น ซึ่งในคดีสิ่งแวดล้อมการที่จะพิสูจน์ให้ได้ครบองค์ประกอบเช่นนั้นถือเป็น ภาระและความยากลำบากอย่างยิ่ง

ความรับผิดทางอาญา
มาตรา การลงโทษทางอาญาแก่ผู้กระทำผิดในคดีสิ่งแวดล้อมนั้นจะมีวัตถุประสงค์ที่แตก ต่างออกไปตามลักษณะของโทษ กล่าวคือ โทษประหารชีวิตและจำคุกมีวัตถุประสงค์ที่จะตัดโอกาสผู้กระทำความผิดออกไปจาก สังคมมิให้มีโอกาสได้กระทำผิดเช่นนั้นอีก รวมทั้งเพื่อป้องปราบและยับยั้งบุคคลอื่นมิให้กล้าที่จะกระทำความผิดเช่น เดียวกันนั้น ส่วนการริบทรัพย์สินนั้นจะมีวัตถุประสงค์เป็นการป้องกันและตัดโอกาสผู้กระทำ ผิดที่จะใช้อุปกรณ์และเครื่องมือเหล่านั้นในการกระทำความผิด กล่าวโดยรวมแล้วจะเห็นได้ว่าวัตถุประสงค์ของการลงโทษผู้กระทำความผิดในคดี สิ่งแวดล้อมนั้นจะมีลักษณะเป็นการป้องกันโดยการยับยั้งผู้กระทำความผิดให้ เกิดความเกรงกลัวและตัดโอกาสมิให้ได้รับความสะดวกที่จะกระทำความผิด เนื่องจากสิ่งแวดล้อมหากถูกทำลายไปแล้วไม่อาจฟื้นฟูให้กลับคืนสู่สภาพที่ดี ดังเดิมได้ ดังนั้นดารป้องกันปัญหาจึงเป็นมาตรการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ความรับผิดทางปกครอง
มาตรการ ทางปกครอง ได้แก่ ระบบทะเบียนและระบบการอนุญาตดำเนินการต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาของสิ่ง แวดล้อมและอุตสาหกรรม มาตรการทางปกครองเพื่อการคุ้มครองความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ได้มี การดำเนินการภายใต้การควบคุมขององค์กรเฉพาะที่มีอำนาจในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และในระดับชาติ โดยทีการจัดองค์กรและรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกันๆไป โดยที่ในบางประเทศจะดำเนินการโดยองค์กรเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อมจากส่วนกลางควบ คุมทุกภาคส่วนของสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมทางอุตสาหกรรมในท้องถิ่น 

_____________________________________________________________________________________________

อ้างอิง
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. กฎหมายว่าด้วยความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.



วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558

นางศิรภัสสร ปราบสมรชัย www.d-housegroup.com

นางศิรภัสสร ปราบสมรชัย ที่ปรึกษาและผู้อำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลและกำกับกิจกรรมองค์กร www.d-housegroup.com

ประวัติท่านที่ปรึกษา







ชื่อ                                                           นางศิรภัสสร    ปราบสมรชัย                          
วัน เดือน ปี เกิด                                   18  มกราคม  พ.ศ. 2511
ที่อยู่ปัจจุบัน                                         240/96 หมู่บ้านมานุวงศ์  หมู่  3 ซอย 8
ตำบลคลองคะเชนทร์   อำเภอเมืองพิจิตร
จังหวัดพิจิตร
ที่ทำงานปัจจุบัน                                  โรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง 
                                                                ถนนประชาอุทิศ   ตำบลในเมือง 
อำเภอเมือง  จังหวัดพิจิตร
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน                     ครู  วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2526                              จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 
จากโรงเรียนสรรเพชรอัฎฐมาพิทยาคม
จังหวัดพิจิตร
พ.ศ. 2529                             จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จากโรงเรียนหัวดงรัชนูปถัมภ์ 
จังหวัดพิจิตร
พ.ศ.2534                              ค.บ. (ครุศาสตรบัณฑิต)
จากวิทยาลัยครูเพชรบูรณ์  จังหวัดเพชรบูรณ์
 พ.ศ.2554                             กศ.ม. (บริหารการศึกษา)
                                                จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี      

วันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2558

นาย ปั่น ทองทิพย์ นักวิชาการที่ดิน ชำนาญการสำนักงานที่ดิน กรุงเทพมหานคร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบการจดทะเบียน อาคารชุด(คอนโดมิเนียม)

นาย ปั่น ทองทิพย์ นักวิชาการที่ดิน ชำนาญการสำนักงานที่ดิน กรุงเทพมหานคร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบการจดทะเบียน อาคารชุด(คอนโดมิเนียม)

 

 


ประวัติ วัน เดือน ปีเกิด 7 พฤษภาคม 2499 

วุฒิการศึกษา นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง 

ประสบการณ์การทำงาน 

พ.ศ 2520 เจ้าหน้าที่ที่ดิน สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร เขต 2 (บางซ่ือ) เขต 3 (พระโขนง) 

พ.ศ 2535 นักวิชาการที่ดิน 3 , 4 สำนักงานที่กรุงเทพมหานคร สาขาบางกอกน้อย 

พ.ศ 2539 นักวิชาการที่ดิน 5 สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ

 พ.ศ 2541 นักวิชาการที่ดิน 6 สำนักงานที่จังหวัดนครราชสีมา สาขาปากช่อง 

พ.ศ 2545 นักวิชาการที่ดิน 6 สำนักงานที่ดินจังหวัดนครปฐม สาขาสามพราน 

พ.ศ 2553 นักวิชาการที่ดินชำนาญการ สำนักงานที่ดินจังหวัดนครปฐม 

พ.ศ 2557 นักวิชาการที่ดินชำนาญการ สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร 

ราชการพิเศษ ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดนครปฐม 

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบการจดทะเบียนอาคารชุด

 





 







วันเสาร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2558

นางสาวศศิธร อภินันทโน www.d-housegroup.com

www.d-housegroup.comดร.ศศิธร อภินันทโน ที่ปรึกษาระดับสูง ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายวิจัยและสถิติประเมินผล D-HOUSE GROUP

www.d-housegroup.comประวัติ
ชื่อ                                                           นางสาวศศิธร  อภินันทโน
วัน เดือน ปี เกิด                                   30  พฤศจิกายน  2517
ที่อยู่ปัจจุบัน                                         บ้านเลขที่  7  หมู่ 1  ตำบลไผ่ขวาง
อำเภอเมืองพิจิตร 
จังหวัดพิจิตร
ที่ทำงานปัจจุบัน                                  โรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง
                                                                 ถนน คลองคะเชนทร์  ตำบลในเมือง
อำเภอเมือง  จังหวัดพิจิตร
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน                     รองผู้อำนวยการสถานศึกษา 
วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาชำนาญการพิเศษ
ประวัติการศึกษา
                พ.ศ.2535                              วท.บ. (สถิติประยุกต์)
จากสถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม
                                                                จังหวัดพิษณุโลก
 พ.ศ.2545                             กศ.ม. (บริหารการศึกษา)
                                                จากมหาวิทยาลัยนเรศวร
                                                จังหวัดพิษณุโลก
ประวัติการทำงาน
                พ.ศ.2535                              บริษัท Cannon ประเทศไทยจำกัด
                                                                จังหวัดปทุมธานี
 พ.ศ.2539                             บริษัท TOMY  Thailand
                                                จังหวัดปทุมธานี
พ.ศ.2542                              ครูโรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง
                                                จังหวัดพิจิตร
พ.ศ.2554-ปัจจุบัน              รองผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง
                                                จังหวัดพิจิตร

1 ความคิดเห็น:


ดร.สมัย เหมมั่น CEO D-HOUSE GROUP
ทีมบริหาร นักพัฒนาธุรกิจ อสังหาฯ
D-HOUSE GROUP THAILAND

ทีมบริหาร

1.ดร. ศศิธร อภินันทโน ฝ่ายวิจัยและสถิติประเมินผล
D-HOUSE GROUP
2.รตอ. วรจักร ระย้ายาว ฝ่ายกฎหมาย
ทีมบริหาร นักพัฒนาที่ดิน D-HOUSE THAILAND

3.ดร.สมัย เหมมั่น CEO D-HOUSE GROUP
Global Management D-HOUSE THAILAND

4.พลเรื่อตรี วิษณุสรรค์ ศรีแก่นจันทร์ ประธานที่ปรึกษา D-HOUSE GROUP ปรัชญาจิตวิทยามนุษย์และธรรมาภิบาลของนักบริหาร

5.MR.MANOROT KUSOLASAKD ที่ปรึกษาระดับสูง D-HOUSE GROUP ฝ่ายวางแผนการพัฒนาธุรกิจและความเป็นไปได้ของธุรกิจแบบยั่งยืน Brain Based Coach Certificate Training

วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558

HOUSE GROUP ข่าวสารทั่วไป www.d-housegroup.com

www.d-housegroup.com

ผลการค้นหาประมาณ 2,180,000,000 รายการ